ปูนลำปาง ชี้แจงไม่ได้เป็นเจ้าของเหมืองอมก๋อย และยืนยันจะไม่รับซื้อวัตถุดิบจากแหล่งที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย

บริษัทปูนซิเมนต์ไทย (ลำปาง) ขอเรียนชี้แจงว่า โครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย จ.เชียงใหม่ ดำเนินการโดยเอกชนรายอื่น ซึ่งบริษัทไม่ได้ลงทุนหรือถือหุ้นใดๆ ทั้งนี้ บริษัทขอให้ความเชื่อมั่นว่า บริษัทมีนโยบายที่เข้มงวดในการไม่รับซื้อวัตถุดิบ หรือปัจจัยการผลิตจากแหล่งที่ไม่ได้ดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมและไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย นอกจากนี้  บริษัทยังมีเป้าหมายลดการใช้ถ่านหินให้เป็นศูนย์ (Zero Coal) ในอนาคต…

เอสซีจี มุ่งมั่นทำเหมือง “แก่งคอย สระบุรี” เป็น Green Mining ต้นแบบของโลก

เอสซีจี ยืนยันว่าการทำเหมืองแร่หินปูนแก่งคอย จ.สระบุรี ได้ให้ความสำคัญต่อสิ่งแวดล้อม และรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม ด้วยมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่จะเกิดขึ้นอย่างรอบด้านในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การออกแบบเหมืองด้วยวิธีการ Semi–Open Cut ที่ได้รับการยอมรับในระดับโลก โดยเว้นพื้นที่ตลอดแนวขอบเหมืองถึงร้อยละ 60 เพื่อเป็นพื้นที่สีเขียว (Buffer…

การทำเหมือง Semi Open Cut ทำให้มีป่าเป็นแนวป้องกัน คนในพื้นที่ใช้ประโยชน์ได้

12 มีนาคม 2562…หนึ่งในกิจกรรมแฟนเพจเอสซีจี คือการคัดเลือกนิสิตนักศึกษา นั่งรถไฟไทยจากสถานีบางซื่อไปลงสถานีลำปาง เรียนรู้การซ่อม,สร้างฝายชะลอน้ำ พักโฮมสเตย์ของชุมชนในพื้นที่ใกล้ปูนลำปาง และเลือกซื้อพืชผักของแปรรูปชุมชนในพื้นที่เดียวกัน ถ้าหากจะกล่าวถึงการทำ CSR Strategy ที่ทำมาอย่างต่อเนื่อง คงต้องกล่าวถึงกรณีศึกษาของเอสซีจีที่ทำงานเรื่อง “น้ำ” มาโดยตลอดโดยเฉพาะการซ่อม,สร้างฝายชะลอน้ำ ส่งผลให้ระบบนิเวศน์ของพื้นที่รอบโรงงานยังยั่งยืนตามธรรมชาติ และจากเรื่องนี้เมื่อ…

เหมืองลี้มีรัก ต้นแบบการจัดการเหมือง สู่แหล่งน้ำช่วยภัยแล้งเพื่อชุมชน

ใครจะเชื่อว่าแหล่งน้ำขนาดใหญ่ที่มีทัศนียภาพงดงาม รายล้อมไปด้วยพืชพรรณนานาชนิดที่สามารถหล่อเลี้ยงความชุ่มชื้นให้เกิดเป็นทุ่งนาเขียวขจีสุดลูกหูลูกตา และสร้างความสุขให้กับคนนับร้อยในชุมชน ต.ลี้ อ.ลี้ จ.ลำพูน วันนี้ ครั้งหนึ่งจะเคยเป็นเหมืองถ่านหินมาก่อน “ตั้งแต่ก่อนลงมือทำงาน เราก็วางแผนและออกแบบกันว่าในทุกกระบวนการดำเนินงานจนวันสุดท้าย เราจะบริหารจัดการพื้นที่นี้อย่างไรให้เกิดประโยชน์กับชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมมากที่สุด” ชนะ ภูมี…

Green Mining ในแบบ SCG ต้นแบบเหมืองที่อยู่ร่วมกับชุมชน และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

เหมืองสีเขียว (Green Mining) หลักการทำเหมืองของเอสซีจีด้วยแนวคิด “โรงงานอยู่ที่ไหน ป่าต้องเขียวที่นั่น” โดยได้นำแนวปฏิบัติด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนของเอสซีจี และแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) มาปรับใช้ในกระบวนการจัดการและดูแลสิ่งแวดล้อมตามข้อกำหนดกฏหมาย รวมไปถึงข้อปฎิบัติสากล เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม การออกแบบการทำเหมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เอสซีจี…

เอสซีจี ยืนยันทำตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดในการต่ออายุเหมือง พร้อมคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและชุมชน

เอสซีจี ชี้แจงกรณี ครม. ผ่อนผันใช้พื้นที่ประทานบัตรเดิมทำเหมืองแร่ ทำตามกฎหมายเคร่งครัด เป็นไปตามขั้นตอนปกติเช่นเดียวกับผู้ประกอบการทุกราย ระบุทำเหมืองเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยระบบ Semi-Open Cut มาตรฐานโลก ผ่านการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และรับฟังความเห็นชุมชน นายชนะ ภูมี…

เอสซีจี คว้ารางวัล Thailand Green and Smart Mining Award 2019

นายชนะ ภูมี  Vice President-Cement and Construction Solution Business ในธุรกิจซีเมนต์และผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง เอสซีจี เข้ารับรางวัล Thailand Green and Smart…

เอสซีจี นำเสนอแนวทางการทำเหมือนสีเขียว บนเวทีประชุมวิชาการนานาชาติ

ธุรกิจซีเมนต์และผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง เอสซีจี ได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติ “BEDO Ninth Year Celebration Forum and International Workshop : Bio preservation and…