“น้ำ” สู่ความยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง ทางรอดแรงงานคืนถิ่นสู้โควิดพลิกฟื้นอาชีพเกษตรกร

ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 และภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำต่อเนื่องในช่วงเกือบ 2 ปีที่ผ่านมา ทำให้ภาคธุรกิจน้อยใหญ่ต้องปิดกิจการลง ทั้งแบบชั่วคราวและถาวรจำนวนมาก ยอด “คนว่างงานและเสมือนคนว่างงาน” พุ่งขึ้นในช่วงสูงสุดกว่า 5 ล้านคน และหนทางหนึ่งที่แรงงานที่ขาดรายได้เหล่านี้จะเอาชีวิตรอดได้ คือ การหันหน้ากลับสู่บ้านเกิด จาก…

รวมพลังคนต่าง GEN ร่วมหาแนวทางสร้างโลกยั่งยืนด้วย Circular Economy

เอสซีจีเปิดเวที SD Symposium 2020 Circular Economy: Actions for Sustainable Future รวมพลังคนต่างวัยจากหลายมุมมองทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรระดับโลก ภาคการเกษตร…

ดาวน์โหลดข่าว

นักสู้แห่งแม่แจ่ม เนรมิตสวรรค์บนดิน ด้วยการจัดการ “น้ำ-ดิน-ป่า”

อ.แม่แจ่ม เมืองเล็ก ๆ ใน จ.เชียงใหม่ ที่ถูกโอบล้อมด้วยขุนเขา จากพื้นที่เขาเขียวขจีกลับต้องเปลี่ยนเป็นสีเหลือง เพราะแม่แจ่มเป็น 1 ใน 21 อำเภอ ที่ได้ผลกระทบจากภัยแล้งที่หนักสุดในรอบ 40 ปี…

“ลุงคำมี” ต้นแบบเกษตรกรพอเพียงที่เปี่ยมสุข สู้ภัยแล้งสำเร็จ ‘ผันตัวจากคนใช้น้ำ-เป็นคนหาน้ำ’

สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 อาจยืดเยื้อกว่าที่คิดไว้ เพราะต้องใช้เวลาพัฒนายาและวัคซีนในการรักษาไม่ต่ำกว่า 1 ปี ทางเลือกที่ดีที่สุดขณะนี้ จึงเป็นเพียงการยับยั้งการแพร่เชื้อให้ลดลง และประคองสถานการณ์เพื่อไม่ให้กระทบกับเศรษฐกิจมากนัก ภาครัฐจึงมีการแบ่งโซนจังหวัดออกเป็น 3 โซน ได้แก่ เขียว เหลือง และแดง…

“ชุมชนป่าภูถ้ำ ภูกระแต อ.แวงน้อย จ.ขอนแก่น” ลุกขึ้นจัดการตน-รอดพ้นแล้ง สร้างความมั่นคงทางอาหาร สู้วิกฤตโควิดระบาด

ขณะที่คนทั่วโลกรวมถึงคนเมืองในประเทศไทยกำลังหวาดวิตก กักตุนอาหาร และเก็บตัวเองอยู่ในบ้าน เพื่อปกป้องตัวเองให้ห่างจากเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่คร่าชีวิตผู้คนทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง แต่ภัยร้ายจากโรคระบาดที่ว่ารุนแรงแล้ว ก็ยังไม่อาจสู้ปัญหาเรื่องปากท้องได้ นี่จึงเป็นสาเหตุของการอพยพอีกระลอกของแรงงานกลับสู่ภูมิลำเนาเพื่อหนีความอดอยาก ผลการสำรวจความคิดเห็นเกษตรกรของสำนักวิจัยซูเปอร์โพล สถาบันวิจัยความสุขชุมชนและความเป็นผู้นำ เกี่ยวกับผลกระทบภัยแล้งกับโควิด-19 พบว่า เกษตรกรร้อยละ 90.4 เกรงกลัวภัยแล้งมากกว่าโควิด–19…

“บ้านม่วงชุม” จ.เชียงราย ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วยรอดพ้นวิกฤตอาหารในสถานการณ์โควิด-19

ในสถานการณ์ที่ทั่วโลกกำลังเผชิญกับพิษจากโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (โควิด-19) จนบอบช้ำ ไม่เพียงแต่ยอดผู้ติดเชื้อที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่สิ่งที่ทั้งประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาต่างเจอศึกหนักด้วยก็คือ ผลกระทบต่อการใช้ชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน เพราะความต้องการปัจจัยพื้นฐานอย่างอาหาร ยารักษาโรค และเครื่องมือเวชภัณฑ์พุ่งสูงขึ้น จนเป็นเหตุให้สินค้าขาดตลาดและมีราคาสูงขึ้นเป็นเงาตามตัว กลับเข้าสู่ยุค “เงินทองคือมายา ข้าวปลา คือของจริง”…