ปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อมของไทยและทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นน้ำท่วมใหญ่ หรือภัยแล้ง ซึ่งสาเหตุหลักเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Emergency) ที่นับวันยิ่งทวีความรุนแรงขึ้นจนถึงขั้นวิกฤต และหากย้อนกลับไปที่ต้นตอ คงปฏิเสธไม่ได้ว่ากิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันของ “มนุษย์” ล้วนมีส่วนสร้างผลกระทบที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมเช่นกัน อย่างไรก็ตาม ผู้ที่จะช่วยแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้คือ…
ดาวน์โหลดข่าวTag: ภัยแล้ง
“ใต้แล้ง” จุดเปลี่ยนบ้านถ้ำใหญ่ เรียนรู้จัดการน้ำ ยึดเกษตรผสมผสานสร้างรายได้ยั่งยืน ปลูกผักปลอดสารเคมีความสุขพอเพียงของ “จุรีพร อยู่พัฒน์”
ภาคใต้จัดเป็นพื้นที่จำพวกแถบร้อนฝนชุกตกมากตลอดปี จนได้ฉายาว่าเป็นภาค “ฝนแปดแดดสี่” นั่นคือ มีฝนตกถึงแปดเดือน และมีแดดเพียงสี่เดือน แต่ใครจะคาดคิดว่าชุมชนบ้านถ้ำใหญ่ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช กลับต้องประสบกับปัญหา “ภัยแล้ง” ต้นไม้แห้งตายเกือบทั้งหมด แม้แต่บ้านที่อยู่ริมคลองก็ยังไม่มีน้ำใช้ ปลุกให้ผู้คนในชุมชนเริ่มตระหนักและปรับเปลี่ยนความคิด หันมาร่วมกันรักษาป่าต้นน้ำและเรียนรู้การจัดการน้ำ…
ดาวน์โหลดข่าว“ลงมือทำ” ก้าวแรกที่สำคัญของความสำเร็จ “เลิกแล้ง เลิกจน” สามัคคี เรียนรู้ ใช้เทคโนโลยี ต่อยอดสู่อาชีพสร้างรายได้ที่มั่นคงอย่างยั่งยืน
“ภัยแล้ง” เป็นสาเหตุหนึ่งของความยากจน กว่า 14 ปีที่เอสซีจีร่วมกับพันธมิตรเครือข่ายแก้ปัญหาภัยแล้ง และต่อยอดความสำเร็จสร้างอาชีพเพิ่มรายได้ให้ชุมชน ถือเป็นบทพิสูจน์ถึงการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน พร้อมทั้งถอดบทเรียนความสำเร็จจากการบริหารจัดการน้ำชุมชนนำมาสู่บทสรุป “เลิกแล้ง เลิกจน โมเดล” เพื่อให้ทุกภาคส่วนร่วมกันผลักดันขยายผล ปลุกชุมชนทั่วประเทศลุกขึ้นลงมือทำให้รอดแล้ง และมีรายได้ที่มั่นคงเป็นชุมชนที่เข้มแข็งอย่างแท้จริง “เรียนรู้สู่การลงมือทำ”…
ดาวน์โหลดข่าวเอสซีจี จับมือเครือข่าย ชู “เลิกแล้ง เลิกจน” โมเดล หลังพิสูจน์แล้ว ชุมชนมีน้ำกิน-ใช้ รายได้เพิ่ม อาชีพมั่นคง
เกษตรกรไทยมีความหวัง หลังเผชิญกับวิกฤติภัยแล้งสาหัส ไม่มีน้ำกิน–ใช้ ผลผลิตการเกษตรตกต่ำ ขาดรายได้ เอสซีจี ร่วมมือมูลนิธิอุทกพัฒน์ฯ สสน. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หอการค้าแห่งประเทศไทย ชวนเครือข่ายขยายผล “เลิกแล้ง เลิกจน” โมเดล ชู…
ดาวน์โหลดข่าวปลุกพลังลุกขึ้นเปลี่ยน “แล้ง” ไม่ใช่แค่ “รอด” จัดการน้ำพลิกชีวิต ฟื้นเศรษฐกิจ เพิ่มรายได้ที่ยั่งยืน
เพราะ “น้ำคือชีวิต” ถ้าไม่มีน้ำ คนก็อยู่ไม่ได้ ผู้คนจำนวนไม่น้อยจึงเลือกที่จะทิ้งถิ่นเกิด อพยพสู่เมืองใหญ่ หอบหิ้วความหวังฝ่ากระแสธารแห่งการต่อสู้ที่เข้มข้น เพื่อสร้างชีวิตใหม่ที่คิดว่าดีกว่าแต่สุดท้ายอาจพบว่าบนเส้นทางในเมืองใหญ่ไม่ได้ตอบโจทย์ความมั่นคงทั้งด้านเศรษฐกิจและความสุข ที่ยั่งยืน ทิ้งถิ่นสู่เมืองใหญ่ขายแรงงานทางเลือกที่ “ไม่รอด” ชุมชนภูถ้ำ ภูกระแต อ.แวงน้อย จ.ขอนแก่น…
ดาวน์โหลดข่าวสสน. ชี้ภัยแล้งปี 64 วิกฤต ย้ำต้องวางแผนการใช้น้ำ งดสูบน้ำทำนาปรัง
สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน) หรือ สสน. ได้จัดงาน “สื่อสารสถานการณ์วิกฤตน้ำประเทศไทยปี 2564” ที่ห้องบัญชาการวิเคราะห์และติดตามสถานการณ์น้ำ ของสถาบันฯ เพื่อให้ข้อมูลสถานการณ์น้ำประเทศไทย โดย ดร.รอยล จิตรดอน ประธานกรรมการสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ และ…
ดาวน์โหลดข่าวบทพิสูจน์ 13 ปี แห่งการเดินทางบน “การจัดการน้ำ” ที่ไม่สูญเปล่า
จากความต้องการดับไฟป่า ได้นำไปสู่การสร้างฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ด้วยเชื่อว่าหยดน้ำเล็ก ๆ คือ ต้นกำเนิดของทุกสรรพสิ่งทั้ง ดิน ป่า และความสมดุลของทรัพยากร การเดินทางที่ไม่หยุดนิ่งเหมือนสายน้ำ กว่า 13 ปี…
นักสู้ “แม่แจ่ม” ใช้แนวคิด “จัดการน้ำชุมชนแบบมีส่วนร่วม” เปลี่ยนเขาหัวโล้นเป็นป่าธรรมชาติ เอาชนะภัยแล้ง
แม้ว่าพี่น้องชาวเขามีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับป่า มีประเพณีและวัฒนธรรมที่ให้ความเคารพผืนป่า เช่น การบวชป่า แต่ด้วยวิถีเกษตรที่ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมา ผนวกกับเกษตรเชิงเดี่ยวในยุคสมัยนี้ กลายเป็นต้นเหตุหลักที่ทำให้พื้นที่ อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ เสื่อมโทรมกลายเป็น “เขาหัวโล้น” คุณอุทัย พายัพธนกร หรือ พ่อหลวงอุทัย…
นักสู้แห่งแม่แจ่ม เนรมิตสวรรค์บนดิน ด้วยการจัดการ “น้ำ-ดิน-ป่า”
อ.แม่แจ่ม เมืองเล็ก ๆ ใน จ.เชียงใหม่ ที่ถูกโอบล้อมด้วยขุนเขา จากพื้นที่เขาเขียวขจีกลับต้องเปลี่ยนเป็นสีเหลือง เพราะแม่แจ่มเป็น 1 ใน 21 อำเภอ ที่ได้ผลกระทบจากภัยแล้งที่หนักสุดในรอบ 40 ปี…
“ลุงคำมี” ต้นแบบเกษตรกรพอเพียงที่เปี่ยมสุข สู้ภัยแล้งสำเร็จ ‘ผันตัวจากคนใช้น้ำ-เป็นคนหาน้ำ’
สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 อาจยืดเยื้อกว่าที่คิดไว้ เพราะต้องใช้เวลาพัฒนายาและวัคซีนในการรักษาไม่ต่ำกว่า 1 ปี ทางเลือกที่ดีที่สุดขณะนี้ จึงเป็นเพียงการยับยั้งการแพร่เชื้อให้ลดลง และประคองสถานการณ์เพื่อไม่ให้กระทบกับเศรษฐกิจมากนัก ภาครัฐจึงมีการแบ่งโซนจังหวัดออกเป็น 3 โซน ได้แก่ เขียว เหลือง และแดง…