“ลงมือทำ” ก้าวแรกที่สำคัญของความสำเร็จ “เลิกแล้ง เลิกจน” สามัคคี เรียนรู้ ใช้เทคโนโลยี ต่อยอดสู่อาชีพสร้างรายได้ที่มั่นคงอย่างยั่งยืน

“ภัยแล้ง” เป็นสาเหตุหนึ่งของความยากจน กว่า 14 ปีที่เอสซีจีร่วมกับพันธมิตรเครือข่ายแก้ปัญหาภัยแล้ง และต่อยอดความสำเร็จสร้างอาชีพเพิ่มรายได้ให้ชุมชน ถือเป็นบทพิสูจน์ถึงการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน พร้อมทั้งถอดบทเรียนความสำเร็จจากการบริหารจัดการน้ำชุมชนนำมาสู่บทสรุป “เลิกแล้ง เลิกจน โมเดล” เพื่อให้ทุกภาคส่วนร่วมกันผลักดันขยายผล ปลุกชุมชนทั่วประเทศลุกขึ้นลงมือทำให้รอดแล้ง และมีรายได้ที่มั่นคงเป็นชุมชนที่เข้มแข็งอย่างแท้จริง “เรียนรู้สู่การลงมือทำ”…

ดาวน์โหลดข่าว

ปลุกพลังลุกขึ้นเปลี่ยน “แล้ง” ไม่ใช่แค่ “รอด” จัดการน้ำพลิกชีวิต ฟื้นเศรษฐกิจ เพิ่มรายได้ที่ยั่งยืน

เพราะ “น้ำคือชีวิต” ถ้าไม่มีน้ำ คนก็อยู่ไม่ได้ ผู้คนจำนวนไม่น้อยจึงเลือกที่จะทิ้งถิ่นเกิด อพยพสู่เมืองใหญ่ หอบหิ้วความหวังฝ่ากระแสธารแห่งการต่อสู้ที่เข้มข้น เพื่อสร้างชีวิตใหม่ที่คิดว่าดีกว่าแต่สุดท้ายอาจพบว่าบนเส้นทางในเมืองใหญ่ไม่ได้ตอบโจทย์ความมั่นคงทั้งด้านเศรษฐกิจและความสุข ที่ยั่งยืน ทิ้งถิ่นสู่เมืองใหญ่ขายแรงงานทางเลือกที่ “ไม่รอด” ชุมชนภูถ้ำ ภูกระแต อ.แวงน้อย จ.ขอนแก่น…

ดาวน์โหลดข่าว

นักสู้ “แม่แจ่ม” ใช้แนวคิด “จัดการน้ำชุมชนแบบมีส่วนร่วม” เปลี่ยนเขาหัวโล้นเป็นป่าธรรมชาติ เอาชนะภัยแล้ง

แม้ว่าพี่น้องชาวเขามีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับป่า มีประเพณีและวัฒนธรรมที่ให้ความเคารพผืนป่า เช่น การบวชป่า แต่ด้วยวิถีเกษตรที่ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมา ผนวกกับเกษตรเชิงเดี่ยวในยุคสมัยนี้ กลายเป็นต้นเหตุหลักที่ทำให้พื้นที่ อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ เสื่อมโทรมกลายเป็น “เขาหัวโล้น” คุณอุทัย พายัพธนกร หรือ พ่อหลวงอุทัย…

รัฐ-เอกชน-ชุมชน ร่วมน้อมนำศาสตร์พระราชา สู่การจัดการน้ำอย่างยั่งยืน

สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง นำไปสู่การเกิดภัยธรรมชาติที่ทวีความรุนแรงขึ้นทั่วโลก ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทยที่ต้องเผชิญภัยแล้งรุนแรงที่สุดในรอบ 40 ปี เพราะภาวะโลกร้อนทำให้ปริมาณน้ำฝนลดลงกว่าร้อยละ 30-40 เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยต่อปี น้ำในเขื่อนเริ่มลดระดับจนแห้ง ยิ่งกว่านั้น กรมอุตุนิยมวิทยา ยังคาดว่าภัยแล้งปีนี้จะเกิดขึ้นยาวนาน กว่าฤดูฝนจะมาเยือนต้องรอถึงเดือนมิถุนายน บ้านสามขา บทเรียนจากฝาย…

ดาวน์โหลดข่าว