“พลาสติก” วัสดุสู้วิกฤตโควิด-19 เคียงข้างบุคลากรทางการแพทย์

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 (COVID-19) ในปัจจุบัน ส่งผลให้ผู้คนต้องปรับพฤติกรรมและวิถีชีวิตตัวเองในการรักษาระยะห่างทางสังคมเพื่อลดการแพร่ระบาดของเชื้อร้าย โดยมีบุคลากรทางการแพทย์เป็นทัพหน้าในการกำราบโรคระบาดนี้ และยังช่วยดูแลรักษาผู้ป่วยอย่างสุดความสามารถ จึงจำเป็นอย่างมากที่บุคลากรทางการแพทย์ต้องเพิ่มมาตรการป้องกันการติดเชื้อให้มากกว่าเดิม และปฎิเสธไม่ได้เลยว่า สิ่งที่เป็นเสมือนเกราะป้องกันช่วยดูแลคุณหมอและเหล่าบุคลากรทางการแพทย์ให้ทำหน้าที่อย่างไร้กังวลได้ก็คือ “พลาสติก” 90 ปีสายสัมพันธ์ ‘พลาสติก’ กับวงการแพทย์ พลาสติกเริ่มเข้ามาในวงการแพทย์ตั้งแต่ทศวรรษที่…

CEO เอสซีจี เผยตัวอย่าง “ธุรกิจ” ได้ปรับเพื่อรับโจทย์ใหม่ & ใช้แล้ว SHAPING

30 เมษายน 2563…แพคเกจจิ้ง ปรับซัพพลายเชน รับดีมานด์ที่สูงขึ้นจาก Social Distancing ส่วนซีเมนต์และผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง โดย SCG HOME เดินหน้าสั่งของทางออนไลน์เพิ่มขึ้นตามแผนธุรกิจที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง และมีธุรกิจขนส่งสินค้าที่แข็งแกร่ง รุ่งโรจน์ รังสิโยภาส กรรมการผู้จัดการใหญ่…

“ลุงคำมี” ต้นแบบเกษตรกรพอเพียงที่เปี่ยมสุข สู้ภัยแล้งสำเร็จ ‘ผันตัวจากคนใช้น้ำ-เป็นคนหาน้ำ’

สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 อาจยืดเยื้อกว่าที่คิดไว้ เพราะต้องใช้เวลาพัฒนายาและวัคซีนในการรักษาไม่ต่ำกว่า 1 ปี ทางเลือกที่ดีที่สุดขณะนี้ จึงเป็นเพียงการยับยั้งการแพร่เชื้อให้ลดลง และประคองสถานการณ์เพื่อไม่ให้กระทบกับเศรษฐกิจมากนัก ภาครัฐจึงมีการแบ่งโซนจังหวัดออกเป็น 3 โซน ได้แก่ เขียว เหลือง และแดง…

เคลื่อนย้ายผู้ป่วยโควิด-19 อย่างปลอดภัย ด้วยแคปซูลเคลื่อนย้ายผู้ป่วยขนาดเล็ก

เข้าเครื่อง CT Scan – ขึ้นรถพยาบาล – ปรับนั่ง 45 องศาได้ คนไข้โควิด-19 เป็นคนไข้ที่มีอาการปอดติดเชื้อรุนแรง จำเป็นต้องตรวจ CT Scan บ่อยครั้ง…

อุปกรณ์ครอบศีรษะคนไข้ เพื่อลดการฟุ้งกระจายของเชื้อ สำหรับงานทันตกรรม (Dent Guard)

ปัญหาสุขภาพฟันเป็นเรื่องสำคัญ หากมีอาการของโรคทันตกรรมที่เร่งด่วน หรือหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็จำเป็นต้องไปพบแพทย์  ในช่วงที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ยังควบคุมไม่ได้ การทำทันตกรรมอาจมีความเสี่ยง ทั้งกับบุคลากรการแพทย์และคนไข้ เพราะมีโอกาสเกิดการฟุ้งกระจายของเชื้อระหว่างการทำทันตกรรม อุปกรณ์ครอบศีรษะคนไข้ เพื่อลดการฟุ้งกระจายของเชื้อ สำหรับงานทันตกรรม (Dent Guard) เป็นอุปกรณ์เสริมพิเศษสำหรับงานทันตกรรม…

ภารกิจสร้างยุทธภัณฑ์ทางการแพทย์ โดยทัพหน้า แพทย์ราชวิถี และทัพหลัง เอสซีจี ช่วยติดอาวุธ

เป็นเวลากว่า 3 เดือน ที่เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือโควิด-19 ได้ประกาศสงครามกับมนุษย์ การต่อสู้กับสงครามโควิด-19 ดำเนินมาอย่างเข้มข้นและส่งผลกระทบในวงกว้าง สำหรับประเทศไทย สงครามนี้ได้คร่าชีวิตผู้คนไปแล้ว 47 ราย มีผู้ติดเชื้อจากการโจมตีของไวรัสสะสมกว่า 2,792…

“ชุมชนป่าภูถ้ำ ภูกระแต อ.แวงน้อย จ.ขอนแก่น” ลุกขึ้นจัดการตน-รอดพ้นแล้ง สร้างความมั่นคงทางอาหาร สู้วิกฤตโควิดระบาด

ขณะที่คนทั่วโลกรวมถึงคนเมืองในประเทศไทยกำลังหวาดวิตก กักตุนอาหาร และเก็บตัวเองอยู่ในบ้าน เพื่อปกป้องตัวเองให้ห่างจากเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่คร่าชีวิตผู้คนทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง แต่ภัยร้ายจากโรคระบาดที่ว่ารุนแรงแล้ว ก็ยังไม่อาจสู้ปัญหาเรื่องปากท้องได้ นี่จึงเป็นสาเหตุของการอพยพอีกระลอกของแรงงานกลับสู่ภูมิลำเนาเพื่อหนีความอดอยาก ผลการสำรวจความคิดเห็นเกษตรกรของสำนักวิจัยซูเปอร์โพล สถาบันวิจัยความสุขชุมชนและความเป็นผู้นำ เกี่ยวกับผลกระทบภัยแล้งกับโควิด-19 พบว่า เกษตรกรร้อยละ 90.4 เกรงกลัวภัยแล้งมากกว่าโควิด–19…

ห้องตรวจเชื้อความดันลบหรือบวกแบบเคลื่อนที่ อีกหนึ่งความปลอดภัย ที่ติดตั้งง่าย เคลื่อนย้ายสะดวก

นวัตกรรมที่ช่วยป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ นอกจากจะตอบโจทย์เรื่องความปลอดภัยแล้ว ความสะดวกในการใช้งาน ทั้งการติดตั้งและเคลื่อนย้าย ก็เป็นสิ่งที่บุคลากรการแพทย์ต้องการ เพื่อการใช้งานอย่างไม่มีข้อจำกัด  ห้องตรวจเชื้อความดันลบหรือบวกแบบเคลื่อนที่ (Negative/Positive Pressure Isolation Chamber) ช่วยป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อระหว่างการตรวจวินิจฉัย สำหรับใช้ตรวจวินิจฉัย (Swab) โดยไม่ต้องสัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย…

เกษตรกรแม่แจ่ม เปลี่ยนเขาหัวโล้น ด้วยการจัดการน้ำ เกษตรทฤษฎีใหม่ รับมือภัยแล้ง และโควิด ได้ผล

จากการประเมินของศูนย์ภัยพิบัติและแก้ปัญหาด้านการเกษตร ระบุว่า ปี 2563 สถานการณ์ภัยแล้งจะทวีความรุนแรงขึ้น เนื่องจากฤดูฝนปีที่ผ่านมา มีปริมาณน้ำฝนตกเฉลี่ยเพียงร้อยละ 12 ปริมาณน้ำใช้ในอ่างเก็บน้ำมีเพียงร้อยละ 22 ของความจุรวมทั้งหมด ทำให้พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจสำคัญเสี่ยงต่อภาวะขาดแคลนน้ำ เฉพาะพื้นที่ปลูกไม้ผลนอกเขตชลประทาน เสี่ยงขาดแคลนน้ำในพื้นที่ 30…

หมอไทยแกร่ง ร่วมใจสู้ศึกโควิด ด้วยนวัตกรรมห้องแยกป้องกันเชื้อความดันลบแบบเคลื่อนที่ ลดติดเชื้อในห้องฉุกเฉิน

จำนวนผู้ป่วยโควิดที่เพิ่มสูงขึ้นทุกวัน ทำให้แพทย์ต้องเตรียมรับมืออย่างรัดกุม โดยเฉพาะผู้ป่วยหนักที่ต้องรักษาตัวใน ห้องไอซียู ซึ่งจำเป็นต้องมีห้องแยกป้องกันเชื้อความดันลบอยู่ในห้อง เพื่อลดความเสี่ยงติดเชื้อ และหากสามารถเคลื่อนย้ายไปติดตั้งในห้องไอซียูได้เลย หรือสร้างเป็นห้องแยกออกมาจากไอซียูที่มีคนไข้เต็มแล้วได้ ก็จะยิ่งตอบโจทย์การทำงานของแพทย์ ห้องแยกป้องกันเชื้อความดันลบแบบเคลื่อนที่ (Negative Pressure Isolation Room) ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ…