เบื้องหลัง “นวัตกรรมป้องกันโควิด-19” อาวุธปกป้องแพทย์-พยาบาล ช่วยคลี่คลายวิกฤตโควิด-19 ในไทย

ความร้ายกาจของการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ทำให้คนทั่วโลกอยู่ในภาวะตื่นตระหนกจากการสูญเสียชีวิตประชากรนับแสนคน ทำให้เราต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตภายใต้วิถีชีวิตแบบปกติใหม่ (New Normal) ด้วยการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) และรอความหวังจากนักวิจัยหรือนักวิทยาศาสตร์ในวงการแพทย์คิดค้นวัคซีนและยารักษาโรค เพื่อปิดเกมกำราบโควิด-19 แม้สถานการณ์ในประเทศไทยจะคลี่คลาย แต่ก็ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า การกลับมาดำเนินชีวิตหลังผ่อนคลายการล็อกดาวน์นั้น…

ดาวน์โหลดข่าว

เคล็ดไม่ลับ ปรับเพื่อรอดสู่วิถีออนไลน์ การขายแนวใหม่ของชุมชน

วิกฤตโควิด-19 เป็นคลื่นดิสรัปชันลูกใหญ่ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ไม่เพียงส่งผลกระทบแบบลูกโซ่ต่อธุรกิจที่พึ่งพารายได้จากต่างประเทศอย่างธุรกิจท่องเที่ยว ธุรกิจนำเข้าและส่งออก แม้แต่วิสาหกิจชุมชนก็ได้รับผลกระทบไม่แพ้กัน การปรับตัวได้เร็ว คิดหาโอกาสใหม่ๆ อยู่เสมอ ลองทำในสิ่งที่ไม่คุ้นเคย อาจเป็นวิถีที่จะนำพาพ่อค้า-แม่ขาย รวมทั้งวิสาหกิจชุมชน ให้สามารถปรับตัวสู้โควิด-19 ดิสรัปชันครั้งนี้ได้อย่างยั่งยืน สำหรับพื้นที่จังหวัดระยองนั้น มีชุมชนและวิสาหกิจชุมชนหลายกลุ่มที่ตระหนักถึงความจริงนี้…

เอสซีจีปรับ 5 กลยุทธ์เชิงรุกดันทุกธุรกิจสู้โควิด-19

เอสซีจี หรือ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน)  รู้จักกันดีภายใต้ชื่อเรียกสั้นๆว่า “ปูนใหญ่” เป็นกลุ่มบริษัทชั้นนำในภูมิภาคอาเซียนที่ดำเนินธุรกิจมากว่า 100 ปี ปัจจุบันเน้น 3 กลุ่มธุรกิจหลัก เอสซีจี ซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง, เอสซีจี เคมิคอลส์ และเอสซีจี…

เปิดกลยุทธ์เชิงรุกของ “เอสซีจี” ฝ่ากระแสความท้าทายยุค “New Normal”

แม้ไม่มีใครรู้ว่าการแพร่ระบาดของไวรัสจิ๋วแต่ทรงอานุภาพอย่างโควิด-19 ที่เข้ามาเปลี่ยนวิถีชีวิตของคนทั่วโลกจากเดิม สู่ “New Normal” หรือ “ความปกติใหม่” จะสิ้นสุดเมื่อใด แต่สิ่งนี้ก็กลายเป็นความท้าทายระลอกใหญ่ที่ถาโถมทุกส่วน โดยเฉพาะภาคธุรกิจ ให้ต้องปรับทั้งวิธีคิดและกระบวนการดำเนินงาน เพื่อคงความสามารถในการแข่งขันและการตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าให้ได้ เช่นเดียวกับ “เอสซีจี” ซึ่งเป็นหนึ่งองค์กรที่ทุ่มเทอย่างมาก เพื่อให้สังคม…

“ระยองชอปฮิ” ตลาดนัดออนไลน์ ขายของดีท้องถิ่นระยอง รวมพลังชุมชนสู้วิกฤตเศรษฐกิจ

ไวรัสโควิด-19 ไม่เพียงส่งผลกระทบต่อสุขภาพ แต่ยังลากยาวไปถึง “ปัญหาปากท้อง” อีกด้วย ซึ่งแน่นอนว่า การจัดการกับการระบาดของเชื้อถือเป็นวาระแห่งชาติที่ทุกคนในสังคมต้องร่วมมือกัน การอยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ และมาตรการสร้างระยะห่างทางสังคม หรือ Social Distancing เป็นวิถีที่ช่วยให้การระบาดของโรคลดลงจนมีจำนวนตัวเลขผู้ติดเชื้อลดน้อยลงเหลือตัวเลขหลักเดียวมาอย่างต่อเนื่อง…

นักสู้ “แม่แจ่ม” ใช้แนวคิด “จัดการน้ำชุมชนแบบมีส่วนร่วม” เปลี่ยนเขาหัวโล้นเป็นป่าธรรมชาติ เอาชนะภัยแล้ง

แม้ว่าพี่น้องชาวเขามีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับป่า มีประเพณีและวัฒนธรรมที่ให้ความเคารพผืนป่า เช่น การบวชป่า แต่ด้วยวิถีเกษตรที่ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมา ผนวกกับเกษตรเชิงเดี่ยวในยุคสมัยนี้ กลายเป็นต้นเหตุหลักที่ทำให้พื้นที่ อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ เสื่อมโทรมกลายเป็น “เขาหัวโล้น” คุณอุทัย พายัพธนกร หรือ พ่อหลวงอุทัย…

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ทรงมีพระเมตตาพระราชทาน “ห้องตรวจหาเชื้อ”

ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ที่ทรงห่วงใยบุคลากรทางการแพทย์และประชาชน ในภาวะที่ต้องรับมือกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือ COVID-19 (โควิด-19) จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน “ห้องตรวจหาเชื้อ (Modular Swab Unit)”…

“ทุกวิกฤตมีโอกาส” เอสซีจี ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนระยอง สร้างเครือข่ายผลิตหน้ากากผ้าป้องกันโควิด-19

เมื่อทุกพื้นที่ต้องเผชิญกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 (COVID-19) นอกเหนือจากการดูแลป้องกันตนเองและคนรอบข้างให้ปลอดภัยภายใต้วิถี Social Distancing  แล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นแบบตีควบกันมาก็คือ โอกาสในการหาวิธีสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนในยามวิกฤตเช่นนี้ “ในพื้นที่ระยอง มีวิสาหกิจชุมชนที่เชี่ยวชาญด้านการตัดเย็บอยู่หลายแห่ง ปกติจะตัดเย็บกระเป๋าบ้าง เสื้อผ้าบ้างเพื่อนำไปจำหน่ายตามห้างร้าน หรือในตลาดนัดของภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่ แต่เมื่อเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 กิจกรรมทุกอย่างถูกระงับ…

ดาวน์โหลดข่าว

นักสู้แห่งแม่แจ่ม เนรมิตสวรรค์บนดิน ด้วยการจัดการ “น้ำ-ดิน-ป่า”

อ.แม่แจ่ม เมืองเล็ก ๆ ใน จ.เชียงใหม่ ที่ถูกโอบล้อมด้วยขุนเขา จากพื้นที่เขาเขียวขจีกลับต้องเปลี่ยนเป็นสีเหลือง เพราะแม่แจ่มเป็น 1 ใน 21 อำเภอ ที่ได้ผลกระทบจากภัยแล้งที่หนักสุดในรอบ 40 ปี…

มอง New Normal ธุรกิจและทางรอดผ่านมุมมอง “รุ่งโรจน์ รังสิโยภาส” แม่ทัพเอสซีจี

การรับมือกับความเสี่ยงเป็นหนึ่งในหัวใจหลักสำคัญของการดำเนินธุรกิจธุรกิจที่ยั่งยืน ในวิกฤติโควิด-19 เอสซีจีมีการประเมินความเสี่ยงอย่างรอบด้านภายใต้หลัก ESG ที่ทำให้การตัดสินใจในการรับมือกับวิกฤตินั้นชัดเจนและปรับตัวได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการให้ความสำคัญกับความปลอดภัยของ “คน” ในการรับมือกับความเสี่ยงจากช่วงเริ่มต้นของการระบาดของโควิด-19  สู่การปรับตัวรับ New Normal ในธุรกิจ ผลประกอบการไตรมาสแรก ปี 2563…